Iphone 7 ราคา Ais

5 เดือน)

  • ก่อนที่จะมีการพัฒนาใช้ anti-hypertensive medication: 7% ของผู้ป่วย Hypertension ทั้งหมด จะพบภาวะ Hypertensive Emergencies
  • ปัจจุบันลดลงเหลือเพียง 1-2%
Ref: Keith NM, Wagener HP, Barker NW. Some different type s of essential hypertension: their course and prognosis. Am J Med Sci 1939; 197: 332-343 9. Definition Hypertensive Emergencies Hypertensive Urgencies 10. JNC 7 th
  • The Joint National Committee on Prevention, Detection, Evaluation, and Treatment of High Blood Pressure (latest 2003)
  • ไม่ระบุใน JNC 7
  • Systolic BP >=180 หรือ Diastolic BP >=110 mmHg ควรระวังภาวะ HTE 1
  • End-organ damage มักพบเมื่อ SBP >220, DBP > 120 2
Ref: 1 CHEST 2007; 131: 1949-1962: Hypertensive crises: challenges and management 2 Hurst's the Heart: chapter 70 Diagnosis and treatment of Hypertension 11. JNC 7 th
  • Report of JNC 1993 ได้กำหนด
  • Hypertensive crises = HT Emergencies + HT Urgencies
  • ในปัจจุบัน กำหนดให้ดูที่ evidence of acute target-organ damage
  • ถ้ามี … = HT emergency = Rx ลดความดันภายในระยะเวลาเป็น " ชั่วโมง "
  • ถ้าไม่มี.. =HT urgency = Rx ลดความดันภายใน 24-48 ชั่วโมง
Ref: CHEST 2007; 131: 1949-1962: Hypertensive crises: challenges and management 12.

Ref: CHEST 2007; 131: 1949-1962: Hypertensive crises: challenges and management HT Emergency HT Urgency End-organ damage มี ไม่มี ความเร่งรีบในการลดความดัน ชั่วโมง วัน ประเภทยาลดความดันที่ใช้ Parenteral oral 13. JNC 7 th

  • Malignant Hypertension:
  • เคยถูกใช้เพื่อบรรยาย HT with encephalopathy, or acute nephropathy.
  • แต่ต่อมาถูกถอนออกจาก National and International Blood Pressure Control guideline
Ref: CHEST 2007; 131: 1949-1962: Hypertensive crises: challenges and management 14. Ref: CHEST 2007; 131: 1949-1962: Hypertensive crises: challenges and management 15. Initial assessment 16. Ref: Tintinalli ed. 6 th chapter 57 Hypertension 17. ประวัติ
  • ซักประวัติ มองหา sign of target-organ damage หากมี มักเป็นอาการสำคัญที่พาผู้ป่วยมาโรงพยาบาล ไม่ค่อยมีปัญหาในการ detect
  • ในขณะที่ผู้ป่วยที่ไม่มีอาการ (Clinical stable) จะมีภาวะดังต่อไปนี้ที่อาจทำให้ BP สูงขึ้นได้ ต้องซักประวัติเพื่อ rules out.
    • Anxiety
    • Pain
    • การใช้สารกระตุ้น sympatomimetic drug เช่น amphetamine, cocaine, phencyclidine
    • อยู่ในภาวะขาดสุรา withdrawal state of alcohol
    • อยู่ในภาวะ ขาดยา หรือไม่ได้กินยา Hypertension
Ref: CHEST 2007; 131: 1949-1962: Hypertensive crises: challenges and management 18.

hypertension guideline 2018 ไทย voathai

Successfully reported this slideshow. พ. ญ. นลินาสน์ ขุนคล้าย Working at Thai Association for Emergency Medicine 1. Hypertensive Emergencies and Urgencies Nalinas Khunkhlai, MD Department of Emergency Medicine Rajavithi Hospital 2. case

  • หญิง 56 ปี โรคไต (CKD) มาที่ ER ด้วยอาการเพลีย เวียนศีรษะบ้านไม่หมุน BP220/110 รู้สึกตัวดี ไม่ซีด ท่านจะให้การรักษาแบบ
  • Admit ICU
  • IV nicardipine
  • IV NTG
  • Observe ขอดูไปก่อน
  • None of above
3. case
  • 2. ชาย 55 ปี บ่นปวดศีรษะแล้วหมดสติบนแท้กซี่ก่อนถึงรพ. Lt. hemiparesis. BP 240/100
  • Admit ICU
  • IV nicardipine
  • IV metoprolol
  • Observe
  • None of above
4. case
  • 3. ชาย 54 ปี เพิ่งกลับจากจ้อกกิ้ง แวะมา 7-11 ในรพ. แล้วรู้สึกตามัว จึงมาตรวจที่ ER BP 270/135 X0#@/
  • Admit ICU
  • เจาะเลือดซะเลย
  • IV metoprolol
  • Observe
  • None of above
5. case
  • 4.

    แล้วรู้สึกตามัว จึงมาตรวจที่ ER BP 270/135 X0#@/

  • Admit ICU
  • เจาะเลือดซะเลย
  • IV metoprolol
  • Observe
  • None of above
นั่งพัก ดูอาการ ถามประวัติ HT หรือขาดยา หาก 1 st diag Tx as HT urgency Clue: HT retinopathy Gr I-II = chronic HT 33. case
  • 4. ชาย 66 ปี heavy smoking เจ็บแน่นหน้าอกทันที BP 245/130 เจ็บมากกกกก เหมือนโดนฉีกอก
  • Admit ICU
  • เจาะเลือดซะเลย
  • ตาม หมอโรคหัวใจ
  • Observe
  • None of above
ตาม CVT R/o aortic dissection 34. Thank you for your attention

ตรวจร่างกาย และตรวจพิเศษ

  • มองหา end-organ damage ตามระบบ หา new s/s ที่มีความสัมพันธ์กับภาวะความดันโลหิตสูง
  • Pulse 4 extremities. ( detect dissecting)
  • CXR มองหา
    • Sign of volume overload ( Heart faiure)
    • Thoracic aortic dissecion
Ref: CHEST 2007; 131: 1949-1962: Hypertensive crises: challenges and management 19. การรักษาและเป้าหมายการรักษา Ref: CHEST 2007; 131: 1949-1962: Hypertensive crises: challenges and management Hypertensive Emer Hypertensive Urgent ประเภท admit intensive monitor bed อาจ f/u Med วันรุ่งขึ้น ยา ยาฉีด ยากิน เป้าหมาย BP ลด mABP 25% ใน 2 hr และ 160/110 in 6hr. 20. 21. 22. Special consideration Ref: CHEST 2007; 131: 1949-1962: Hypertensive crises: challenges and management 23. Aortic dissection
  • Clue = chest pain + High BP
  • ความดันที่สูงจะยิ่งทำให้เกิดการเซาะของผนังหลอดเลือด และก่อให้เกิดอันตรายมากขึ้น
  • แนวทางการรักษา: ลด LVEF เพื่อลด flow velocity และลดอาการบาดเจ็บของเส้นเลือด
Ref: CHEST 2007; 131: 1949-1962: Hypertensive crises: challenges and management 24.

ชาย 66 ปี heavy smoking เจ็บแน่นหน้าอกทันที BP 245/130 เจ็บมากกกกก เหมือนโดนฉีกอก

  • Admit ICU
  • เจาะเลือดซะเลย
  • ตาม หมอโรคหัวใจ
  • Observe
  • None of above
6. ความแตกต่างระหว่าง ….
  • Hypertensive crisis
  • Hypertensive emergencies
  • Hypertensive urgencies
7. History of HT Emergencies
  • รายงานและตีพิมพ์ครั้งแรกโดย Volhard and Fahr 1 ในปี 1914
  • ผู้ป่วยมีอาการแสดงของ severe HT + sign of vascular injury to heart, brain, retina, kidney.
  • อาการดังกล่าวเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว, rapid fatal course. End up with heart attack, renal failure, stroke.
Ref: Volhard F, Fahr T, Die brightsche Nierenkranbeit: Lkinik, pathologic and atlas. Berlin 1914 8. History of HT Emergencies (cont. )
  • 1939: 1 st large study of the natural history of Hypertensive emergencies.
  • ผลการศึกษา: Untreated Hypertensive Emergencies มี 1-yr mortality rate 79% ( อายุขัยเฉลี่ย 10.

    • กรุงเทพ - ไคสี จ.บึงกาฬ - จองตั๋วรถทัวร์ ระบบออนไลน์
    • สูตร น้ำยา ลาว hd
    • Hypertension guideline 2018 ไทย full
    • Hypertension guideline 2018 ไทย pdf
    • Hypertension guideline 2018 ไทย เต็มเรื่อง
    • Hypertension guideline 2018 ไทย free
    • ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์
    • บ รี ส สีชมพู หมายถึง
    Stroke
    • กรณีที่มักเป็นกังวล = intracranial hematoma
    • No evidence that hypertension provoke further bleeding
    • มีรายงานว่า SBP >200, DBP>110, MABP>130 จึงค่อยเริ่มควบคุมความดัน แต่ไม่ต้องให้ลดลงอย่างเร็วมาก
    • ลดเร็ว พบว่า increase 24hr. mortality
    Ref: CHEST 2007; 131: 1949-1962: Hypertensive crises: challenges and management 28. Coming up next year! 29. กลับมาที่คำถาม 30. case
    • หญิง 56 ปี โรคไต (CKD) มาที่ ER ด้วยอาการเพลีย เวียนศีรษะบ้านไม่หมุน BP220/110 รู้สึกตัวดี ไม่ซีด ท่านจะให้การรักษาแบบ
    • Admit ICU
    • IV nicardipine
    • IV NTG
    • Observe ขอดูไปก่อน
    • None of above
    ดูอาการ ถามประวัติ HT หรือขาดยา รักษาเวียนศีรษะก่อน 31. case
    • 2. BP 240/100
    • Admit ICU
    • IV nicardipine
    • IV metoprolol
    • Observe
    • None of above
    E. None of above ทำ ABC Intubate ผู้ป่วยก่อน 32. case
    • 3.

    บทความวิชาการ เภสัชบำบัดในโรคความดันโลหิตสูงและอัพเดทแนวทางการรักษาความดันโลหิตสูงในปัจจุบัน (Pharmacotherapy of hypertension and updated current hypertension guidelines) บทคัดย่อ โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) เป็นปัญหาทางสุขภาพที่สำคัญทั่วโลก และยังเป็นหนึ่งของโรคที่นำไปสู่การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ปัจจุบันมีการพัฒนาองค์ความรู้ต่าง ๆ ทั้งในด้านความรู้พื้นฐาน และด้านการรักษาด้วยยาจากผลการศึกษาวิจัยใหม่ ซึ่งนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงคำแนะนำต่าง ๆ ในแนวทางเวชปฏิบัติในปัจจุบัน อาทิ แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของคณะกรรมการร่วมแห่งชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา ฉบับที่ 8 ปี ค. ศ. 2014 (JNC 8) แนวทางเวชปฏิบัติของวิทยาลัยโรคหัวใจและสมาคมโรคหัวใจแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา (ACC)/AHA) ปี ค. 2017 แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของสมาคมโรคหัวใจและสมาคมโรคความดันโลหิตสูงแห่งยุโรป (ESC/ESH) ปี ค. 2018 และแนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป ของสมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย ปี ค. 2019 ซึ่งมีประเด็นคำแนะนำที่คล้าย และแตกต่างกันออกไป ดังนั้น เพื่อทบทวนและอัพเดทองค์ความรู้เกี่ยวกับการรักษาโรคความดันโลหิตสูง บทความนี้จึงกล่าวทบทวนนิยาม การจำแนกโรค เป้าหมายและหลักการให้การรักษาโรคความดันโลหิตสูง ทั้งนี้ เพื่อให้บริบาลเภสัชกรรมในโรคความดันโลหิตสูงอย่างมีประสิทธิภาพ และอยู่บนพื้นฐานของหลักฐานทางวิชาการที่เป็นปัจจุบัน คำสำคัญ Hypertension, Guideline, Treatment

    hypertension guideline 2018 ไทย 2020
    Aortic dissection
    • การรักษา: Betablocker + Vasodilator
    • โดยต้องให้ BB ก่อน ป้องกัน reflex tachycardia
    • BB ที่เป็น 1 st line drug ตาม guideline = esmolol
    • รองลงมาคือ metoprolol
    • สำหรับ Vasodilator ที่เป็น 1 st line แนะนำ Sodium Nitroprusside
    25. Aortic dissection
    • Nitroprusside มีข้อเสียหากให้นาน มี Thiocyanate toxicity
    • Alternative: Nicardipine or fenoldopam
    • Consult CVT: for Type B dissecting thoracic aneurysm.
    26. Sympathetic Crisis
    • ได้แก่พวก amphetamine, cocaine
    • มี sympathetic overactivity
    • แต่ต้องระวัง!!!! ห้ามใช้ Betablocker ในการรักษา เพราะจำทำให้เกิดการ block Beta receptor มากขึ้น เกิด Alpha overstimulation  ทำให้ BP ยิ่งสูง และโดยเฉพาะผู้ป่วย cocaine, ยิ่ง add Betablock จะเพิ่ม coronary vasospam, เพิ่มอัตราการเสียชีวิต
    • การรักษา: ใช้เป็น Nicardipine, fenoldopam, verapramil
    Ref: CHEST 2007; 131: 1949-1962: Hypertensive crises: challenges and management 27.
Mon, 22 Aug 2022 19:38:26 +0000